หมวดหมู่
กิจกรรมทดสอบความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการกระทำผิดเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ตามกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กิจกรรมทดสอบความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการกระทำผิดเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ตามกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วัตถุประสงค์ : เพื่อให้เจ้าหน้ที่ของรัฐมีความรู้ความเข้าใจและสามารถแยกแยะกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เพื่อป้องกันมิให้เกิดการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดการทุจริต ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีการทดสอบความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการกระทำผิดเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ตามกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจขัดกันแห่งผลประโยชน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในเดือนมีนาคม 2566 ของ ป.ป.ช. โดยมีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ กิจกรรมผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่างน้อย 3 ช่องทาง ผู้รับผิดชอบ : คณะทำงานจัดทำและขับเคลื่อนแผนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ตามคำสั่ง ศภ. 6 กสอ. ที่ 3/2566 สั่ง ณ วันที่ 11 มกราคม 2566 ก่อนการดำเนินการ คณะทำงานฯ ได้ประชาสัมพันธ์ทางไลน์กลุ่ม ให้เจ้าหน้าที่ได้รับทราบเกี่ยวกับ ป.ป.ช. ได้ดำเนินกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจเกีี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความรู้ความเข้าใจและสามารถแยกแยะการขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เพื่อป้องกันมิให้เกิดการกระทำที่เป็นการขัดแห่งผลประโยชน์อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดการทุจริต และเชิญชวนให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เข้าศึกษาองค์ความรู้ พร้อมทดสอบความรู้ความเข้าใจและรับวุฒิบัตร (E-Certificate) เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานจะได้มีความรู้ความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง อันเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ และแบบทดสอบ ได้ตาม QR Code หรือ ลิ้งค์ https://sites.google.com/view/e-learningcoi จึงถึงวันที่ 31 มีนาคม 2566 ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 ได้ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ในที่ประชุมเจ้าหน้าที่ ครั้งที่ 3/2566 ประจำเดือนมกราคม 2566 ในวันที่ 23 มกราคม 2566 ระหว่างดำเนินการ เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้เข้าศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ และร่วมการทดสอบความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการกระทำผิดเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ตามกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจขัดกันแห่งผลประโยชน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในเดือนมีีนาคม 2566 ของ ป.ป.ช. หลังดำเนินการ บุคลากรของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสหากรรม จำนวน 41 คน จากเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 46 คน คิดเป็นร้อยละ 89.13 ได้รับวุฒิบัตรผ่านการทดสอบความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการกระทำผิดเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ตามกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจขัดกันแห่งผลประโยชน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในเดือนมีีนาคม 2566 ของ ป.ป.ช. โดยมีข้าราชการ จำนวน 15 คน และลูกจ้างประจำ จำนวน 1 คน พนักงานราชการ จำนวน 13 คน ลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 7 คน และบุคลากรจ้างเหมาบริการ จำนวน 4 คน ดังนี้ นางคนึงนิจ ทยายุทธ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่6 นายฉาย ทองละมุล นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการพิเศษ นางสาวประภาวดี มีนาเขตร นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการพิเศษ นายกิรติพงษ์ ปัญญาเรือง นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการพิเศษ นายสุขสันต์ ชัยชนะ นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการ นายชัยนาท ผาสอน นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการ นางรุจิรา ไชยมงคล นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการ นางสาวอภิญญา โชคภูเขียว นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ นางจารุวรรณ เอ็นดู เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน นางรุ่งทิวา นามสีฐาน เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน นายดำรงศักดิ์ บุญกลาง เจ้าพนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมชำนาญงาน นางสุนันทา ปราโมช ณ อยุธยา นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ นางสาวกมลรัตน์ ศรีประเสริฐ นักวิชาการอุตสาหกรรมปฏิบัติการ นางสาวภัคนิจ สรณารักษ์ นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ นางอริศรา โชติชุ่ม นักวิชาการอุตสาหกรรมปฏิบัติการ นางษรภัช แปวกระโทก พนักงานธุรการ ส 4 นายวิรัตน์ กาแดง นักวิชการอุตสาหกรรม นายแมนเดช มามะเริง นักวิชการอุตสาหกรรม นางสาวอรอนงค์ พงษ์ประเสริฐ นักวิชการอุตสาหกรรม นางวารุณี ผ่องแผ้ว นักวิชการอุตสาหกรรม นายนิรันดร์ ปัญญาเศรษฐ นักวิชการอุตสาหกรรม นายยุทธนา เพชรน้อย นักวิชการอุตสาหกรรม นางนินเนตร ปุ้มกระโทก นักวิชการอุตสาหกรรม นางสาวนิภาพร อุปมะ นักวิชการอุตสาหกรรม นางสาวนฤมล นีระพันธ์ นักวิชการอุตสาหกรรม นางสาวปพิชญา มูกขุนทด นักวิชการอุตสาหกรรม นางสาววาสนา บุญประเสริฐ นักวิชาการอุตสาหกรรม นายอัฐศิลป์ โกมลวิสุทธิ์ นิติกร นางสาวกันยารัช แนบกระโทก นักวิชาการพัสดุ นางสาวเกสร พันธ์สูงเนิน นิติกร นางสาวชาติรส ชุ่มศรี เจ้าหน้าที่บริหารสินเชื่อ นายศิวนัส อัดสูงเนิน เจ้าหน้าที่บริหารสินเชื่อ นางสาววิศณีย์ ขวัญสูงเนิน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์โครงการ นางสาวรัชนก พรมสูงเนิน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์โครงการ นางจินตนา จิตร์กระโทก นักบัญชี นางสาวกนกการณ์ เดชบุตร เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี นางสาวสุมาลี ปลอดกระโทก บุคลากรจ้างเหมา นางกิตติมา อยู่ชุมพล บุคลากรจ้างเหมา นางสาวแววมณี เกตแสนสี บุคลากรจ้างเหมา นายประณต พอกขุนทด บุคลากรจ้างเหมา นายบารมี นาชิดศรสูงเนิน บุคลากรจ้างเหมา โดยมีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่กิจกรรมผ่านช่องทางต่าง ๆ จำนวน 3 ช่องทาง ดังนี้ กลุ่ม line DIProm center 6 ในที่ประชุมหน่วยงาน ประชุมเจ้าหน้าที่ ครั้งที่ 3/2566 ประจำเดือนมกราคม 2566 ในวันที่ 23 มกราคม 2566 เว็บไซต์ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม https://ipc6.dip.go.th และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมคือ เจ้าหน้ที่ของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีความรู้ความเข้าใจและสามารถแยกแยะกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เพื่อป้องกันมิให้เกิดการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดการทุจริต
27 มี.ค. 2566
DIPROM ปลูกฝังค่านิยมที่ดีเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และข้อกำหนดจริยธรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 เผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ อินโฟร์กราฟฟิค เกี่ยวกับ มาตรฐานทางจริยธรรม ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และข้อกำหนดจริยธรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ตามจุดประชาสัมพันธ์ต่างๆภายในกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม อีกทั้งให้หน่วยงานในสังกัดกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวอีกด้วย เพื่อให้บุคลากรในสังกัด กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือชาว DIPROM ทราบหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตนและรักษาคุณงามความดีที่ข้าราชการต้องยึดถือในการปฏิบัติงาน และให้ข้าราชการเกิดสำนึกลึกซึ้งและเที่ยงธรรมในหน้าที่ ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีข้าราชการควรแก่ความไว้วางใจและเชื่อมั่นของประชาชนมีการประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมและรักษาจริยธรรมอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ อีกทั้งเชิญชวนให้ชาว DIPROM ลงนามรับทราบข้อกำหนดจริยธรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เพื่อให้เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้รับทราบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรม และรักษาจริยธรรม ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และเคร่งครัดอยู่เสมอ เพื่อพัฒนากรมส่งเสริมเสริมอุตสาหกรรมให้ดียิ่งขึ้น เป็นองค์กรธรรมาภิบาล ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม 2562 มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน 2564 แนวทางปฏิบัติตนของข้าราชการพลเรือนตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ข้อกำหนดจริยธรรมข้าราชการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม การดำเนินการกรณีข้าราชการฝ่าฝืนจริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและข้อกำหนดจริยธรรมของส่วนราชการ บันทึกแจ้งเวียนลงนามรับทราบข้อกำหนดจริยธรรมข้าราชการกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
17 มี.ค. 2566
DIPROM CENTER 6 ร่วมสัมมนากลุ่มพื้นที่จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ตอนล่าง)โครงการค่าจ้างศึกษาการแปลงนโยบายฯ
DIPROM CENTER 6 ร่วมสัมมนากลุ่มพื้นที่จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ตอนล่าง)โครงการค่าจ้างศึกษาการแปลงนโยบายฯ ⏰ วันอังคารที่ 14 มีนาคม 2566 ณ โรงแรมดิ อิมพีเรียล โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ้นเตอร์ โคราช นางคนึงนิจ ทยายุทธ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 และนายกิรติพงษ์ ปัญญาเรือง ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงานภูมิภาค มอบหมายให้ นางรุจิรา ไชยมงคล นักวิชาการอุตสาหกรรมชำนาญการ นางสาววาสนา บุญประเสริฐ นักวิชาการอุตสาหกรรม เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 4 กลุ่มพื้นที่จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) โครงการศึกษาการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติแบบบูรณาการด้านคมนาคมและโลจิสติกส์ในระดับภูมิภาคและประเทศ โดยมี ดร.ธรรมนูญ เฮงษฎีกุล ผู้จัดการโครงการ ▶️ นำความคิดเห็นจากการจัดสัมภาษณ์เชิงลึกก่อนหน้า มานำเสนอต่อยอดให้เห็นเป็นรูปธรรมรายโครงการ ทุกๆ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570, พ.ศ.2571-2575 และ พ.ศ.2576-2580) ▶️ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)โดยโครงการจะเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมและโลจิสติกส์ของประเทศไทย ทุกประเภท - ทางถนน ทางราง ทางอากาศ และทางน้ำ
14 มี.ค. 2566